1. เครื่องวัดค่าความเข้มข้นของธาตุอาหารพืชไร้ดิน EC Meter รุ่นEC-1700
ราคาเครื่องละ 1,700 บ. (ยังไม่รวมค่าจัดส่ง)
คุณสมบัติเครื่องวัดค่า EC รุ่น EC-1700
- สามารถวัดระดับความเข้มข้นของธาตุอาหารได้ในช่วง 0.00 - 19.99 (ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
- มีขนาดเล็กสามารถพกพาได้
- แบตเตอรี่ AG-13 Button ขนาด 1.5 V จำนวน 4 ก้อน สามารถใช้งานได้นานถึง 1,000 ชั่วโมง
- ใช้งานง่ายและสะดวก เหมาะสำหรับผู้ที่ปลูกผักไฮโดรโพนิกส์โดยเฉพาะ (หน่วยวัดเป็น ms/cm)
- ไม่ต้องปรับโหมดการทำงานหรือแปลงค่าใดๆ ในการวัดสามารถวัดและอ่านค่าสารละลายธาตุอาหารได้ทันที
- เครื่องวัดปรับคาริเบทมาจากโรงงานแล้ว
- เครื่องวัดมีปุ่ม Hold สำหรับล็อคค่าที่อ่านได้
- มีหลอดไฟ LED ที่หน้าปัดอ่านค่า สามารถอ่านค่าในที่มืดได้
- มีแจ้งเตือนสถานะแบตเตอรี่กรณีที่แบตเตอรี่ใกล้หมด
- คู่มือการใช้งาน (ภาษาอังกฤษ)
- เหมาะสำหรับใช้ในห้องปฏิบัติการ, โรงเรียนและสถาบันการศึกษา, ฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ, ฟาร์มผักไฮโดรโปนิก, สระว่ายน้ำและสปา, การตรวจคุณภาพน้ำ ฯลฯ
- ขนาดตัวเครื่อง 170 x 33 x 20 มม.
- น้ำหนักเครื่อง 70 กรัม
*แถมฟรี น้ำยาเพื่อใช้ปรับคาริเบทเครื่องวัด EC ขนาด 55 ml. (ค่า 1.413 ms/cm) จำนวน 1 ขวด
******************************************************************************
2. เครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง ของเหลว pH Meter รุ่น pH-900
ราคาเครื่องละ 900 บ. (ยังไม่รวมค่าจัดส่ง)
คุณสมบัติเครื่องวัดค่า pH รุ่น pH-900
- สามารถวัดระดับพีเอชได้ในช่วง 0.0 - 14 .0
- มีขนาดเล็กสามารถพกพาได้
- แบตเตอรี่ AG-13 Button ขนาด 1.5 V จำนวน 3 ก้อน สามารถใช้งานได้นานถึง 700 ชั่วโมง
- เหมาะสำหรับ การเกษตรกรรม, Hydroponics, Aquriums, Food Processing, ห้องปฏิบัติการ, สระว่ายน้ำ ฯลฯ
- เครื่องวัดปรับคาริเบทมาจากโรงงานแล้ว สามารถใช้งานได้เลยโดยไม่ต้องปรับตั้งค่าใดๆ
- ขนาดตัวเครื่อง 150 x 29 x 20 มม.
- น้ำหนักเครื่อง 51 กรัม
*แถมฟรี ผง Buffer Powder เพื่อใช้ปรับคาริเบทเครื่องวัด pH จำนวน 2 ซอง
******************************************************************************
3. น้ำยาสำหรับเทียบค่าเครื่องวัด EC มิเตอร์ (ค่า 1.413 ms/cm) ขนาด 55 cc
ราคาขวดละ 100 บ. (ยังไม่รวมค่าจัดส่ง)
- ใช้เทียบค่าเพื่อการปรับตั้งเครื่องวัด EC ให้มีความเที่ยงตรง
- สามารถเก็บไว้ใช้งานได้หลายครั้ง
- แนะนำให้ล้างทำความสะอาดหัวอ่านเครื่องวัด EC และผึ่งลมให้แห้งก่อนจุ่มหัวอ่าน
ในน้ำยาเทียบค่าเพื่อป้องกันไม่ให้ค่าน้ำยาเจือจางและคาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง
******************************************************************************
1. ลูกค้าสอบถามรายละเอียดสินค้าและแจ้งรายการสั่งซื้อได้ที่
![]()
2. ทางเซนฯ แจ้งยอดชำระ (พร้อมวิธีจัดส่งให้ลูกค้าเลือก)
3. ลูกค้าเลือกวิธีการจัดส่ง พร้อมโอนเงินชำระค่าสินค้า+ค่าจัดส่ง
ธนาคารสำหรับชำระค่าสินค้า
4. ลูกค้าแจ้งการรายละเอียดการชำระเงิน และชื่อ-ที่อยู่ในการจัดส่งสินค้าที่
![]()
ข้อมูลที่ลูกค้าต้องแจ้งหลังจากโอนเงินชำระค่าสินค้าและค่าจัดส่ง
- โอนเข้าธนาคาร ......................................................
- วันที่โอน...................................................................
- เวลาที่โอน ...............................................................
- ยอดเงินที่โอน ..........................................................
- ชื่อ,สกุลผู้รับสินค้า ....................................................
- ที่อยู่ในการจัดส่งสินค้า .............................................
- เบอร์โทรลูกค้า ..........................................................
5. หลังจากรับแจ้งการโอนเงินจากลูกค้า ทางเซนฯ จะตรวจสอบหลักฐานการโอนเงินเรียบร้อย
จึงทำการจัดส่งสินค้าให้ลูกค้า และแจ้งการจัดส่งให้ลูกค้าทราบอีกครั้งหนึ่ง
เงื่อนไข
* กรณีที่ลูกค้าแจ้งยืนยันการโอนเงินหลังเวลา 12.00 น. จะทำการจัดส่งสินค้าให้วันทำการถัดไป
* ลูกค้าเมื่อโอนเงินชำระค่าสินค้าและค่าจัดส่งแล้วรบกวนแจ้งข้อมูลการโอน, ชื่อ, ที่อยู่ ที่ใช้ในการ
จัดส่งมาให้ทราบด้วยเพื่อความรวดเร็วในการตรวจสอบและจัดส่งสินค้า
* ทางเซนฯ จะทำการจัดส่งสินค้าทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ ยกเว้นวันเสาร์, อาทิตย์และวันหยุดทำการไปรษณีย์ (พร้อมแจ้งรหัสติดตามสินค้าให้ลูกค้าทราบ)
* ลูกค้าสามารถตรวจสอบสถานะสินค้าในการจัดส่งได้ที่
- สำหรับการจัดส่งแบบ EMS และ ลงทะเบียน http://track.thailandpost.co.th
- สำหรับการจัดส่งแบบ ธรรมดา ลูกค้าสามารถโทรสอบถามที่เบอร์สายด่วนไปรษณีย์ 1545
******************************************************************************
ส่วนประกอบด้านหน้าเครื่องวัด EC
วิธีใช้งานเครื่องวัดค่า EC
1. ดึงปลอกหุ้มตัวรับข้อมูลออกจากตัวเครื่อง
2. กดปุ่ม ON/OFF เพื่อเปิดการทำงานของเครื่อง (สังเกตุเห็นตัวเลขขึ้นที่หน้าจอสีน้ำเงินเป็นตัวเลข 0.00)
3. จุ่มหัวอ่านหรือตัวรับข้อมูล (แท่งโลหะด้านล่างตัวเครื่อง) ลงไปในของเหลวที่จะทำการวัด โดยให้ระดับน้ำสูงเกินระดับปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล และทำการแกว่งเครื่องเพื่อไล่ฟองอากาศที่อาจจะมาเกาะบริเวณตัวรับข้อมูลออกให้หมด
4. อ่านค่าที่วัดได้จากหน้าจอแสดงผลข้อมูล
5. หลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อบให้กดปุ่ม ON/OFF เพื่อปิดการทำงานของเครื่อง ในกรณีที่ผู้ใช้ลืมปิดการทำงานของเครื่อง เครื่องจะ Auto Switch OFF เพื่อปิดการทำงานด้วยตัวเองภายใน 4 นาที
6. ให้ล้างตัวรับข้อมูลด้วยน้ำสะอาด สบัดน้ำออกจากบริเวณตัวรับข้อมูลใช้ผ้าสะอาดค่อยๆซับให้แห้ง จากนั้นให้สวมปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล เก็บตัวเครื่องไว้ในกล่องพลาสติกให้เรียบร้อย
ข้อแนะนำ และข้อควรระวังในการใช้เครื่องวัดค่า EC
1. ห้ามนำไปจุ่มวัดของเหลวหรือเคมีที่มีค่าความเป็นกรด-ด่าง สูง เกิน 5% หรือ ของเหลวที่ร้อนจัด หรือเย็นจัด เพราะจะทำให้หัวอ่านหรือตัวรับข้อมูลเสียหายได้
2. หลีกเลี่ยงการทำเครื่องวัดตกกระแทกพื้น ควรใส่เครื่องวัดในกล่องพลาสติกทุกครั้งหลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อย
3. อย่าจุ่มเครื่องวัดลงในของเหลวเกินจาก ระดับที่แนะนำไว้ (ไม่เกินขอบของปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล)
4. กรณีที่เครื่องวัดตกน้ำหรือมีความชื้นในเครื่องจนไม่สามารถวัดค่าได้ตามปกติ ให้ถอดปลอกใส่แบตเตอรี่ออกและนำตัวเครื่องวัดไปตากแดดหรือใช้พัดลมเป่าให้แห้งเพื่อไล้ความชื้นออกจากแผงวงจร แล้วลองประกอบเครื่องและลองวัดค่าดูอีกครั้ง ห้ามใช้ไดร์เป่าผมหรือเครื่องเป่าลมร้อนเป่าตัวเครื่องโดยเด็ดขาดเพราะจะทำให้แผงวงจรเสียหายได้
5. ห้ามใช้ไขควงหมุนช่องสำหรับปรับคาริเบทเครื่องในขณะที่ไม่ได้จุ่มวัดกับน้ำยาเทียบค่า เนื่องจากเครื่องวัดได้ทำการปรับตั้งมาจากโรงงานผู้ผลิตแล้ว การปรับหมุนช่องดังกล่าวจะทำให้ค่าที่วัดได้จากเครื่องวัดนี้ไม่ตรงกับความเป็นจริง
วิธีการถอดปลอกใส่แบตเตอรี่เครื่องวัดค่า EC
1. ใช้ไขควงสีเหลืองที่แถมในกล่องเครื่องวัด โดยใช้ปลายไขควงสอดเข้าด้านข้างสลักล็อกปลอก แล้วค่อยๆ ยกไขควงขึ้นเพื่อง้างให้สลักของปลอกที่ล็อคกับตัวเครื่องหลุดออก
2. ใช้นิ้วหัวแม่มือดันปลอกไปด้านบนเพื่อให้ปลอกเลื่อนหลุดออกจากตัวเครื่อง (ถ้าสลักที่ล็อคปลอกกับตัวเครื่องยังไม่ยกลอยจากตัวเครื่องจะดันปลอกออกไม่ได้ อย่าฝืนดันปลอก ให้ใช้ไขควงยกสลักให้สูงขึ้นอีกนิดเพื่อให้สลักลอยจากตัวเครื่องจะดันปลอกออกได้ง่ายโดยไม่ต้องใช้แรงดันมาก)
3. ถอดแบตเตอรี่เก่าออกจากช่องที่ใส่แล้วปลี่ยนแบตเตอรี่ชุดไปลงไปให้ตรงกับช่องขั้ว + -
4. สวมปลอกใส่แบตเตอรี่ลงที่ตัวเครื่องเหมือนเดิมแล้วลองเปิดปุ่มทำงานดูเพื่อทดสอบ
การปรับตั้งเครื่องวัด EC ให้มีความเที่ยงตรง (Calibration)
การคาริเบทเครื่องวัด คือ การปรับตั้งเครื่องวัดให้มีความเที่ยงตรง โดยปกติเครื่องวัดที่เป็นปากกาดิจิตอลเมื่อให้ไปนานๆ แบตตเตอรี่ที่ใช้เริ่มเสื่อมหรือใกล้หมดพลังงานจะทำให้ค่าที่วัดได้ไม่นิ่ง หรือไม่มีความเที่ยงตรง แนะนำให้ผู้ใช้เครื่องเปลี่ยนแบตเตอรี่ชุดใหม่ก่อนที่จะทำการปรับตั้งเครื่อง
1. นำเครื่องวัดค่า EC มาทำความสะอาดหัวอ่านด้วยแอลกอฮอล์ แล้วเป่าลมให้แห้ง อย่าให้มีน้ำหรือคราบปุ๋ยเกาะติดที่ตัวรับ
2. นำน้ำยาโซลูชั่น เทใส่ภาชนะที่สะอาด จากนั้นให้จุ่มวัดเครื่องลงไปในน้ำยาเทียบค่าดังกล่าว
3. อ่านค่าที่หน้าจอแสดงผล ให้เทียบดูว่าค่าที่อ่านได้มีค่าตรงกับค่าของน้ำยาที่วัดหรือไม่ ถ้าตรงก็ไม่ต้องปรับจูนใดๆ ทั้งสิ้น
4. กรณีที่ค่าที่วัดได้ไม่ตรงกับน้ำยาเทียบค่าให้ใช้ไขควงสีเหลืองที่แถมมากับตัวเครื่อง ค่อยหมุนช่องด้านหลังตัวเครื่องในขณะที่หัวอ่านยังคงจุ่มในน้ำยาเทียบค่า โดยหมุนให้ตัวเลขหน้าจอแสดงผลเคลื่อนไปตรงหรือใกล้เคียงกับค่าของน้ำยามากที่สุด
5. หลังจากปรับตั้งเครื่องเรียบร้อย ให้เก็บน้ำยาเทียบค่านี้ไว้ใช้งานครั้งต่อไปได้ แต่ควรเก็บในที่ไม่โดนแสงแดดในอุณหภูมิปกติ สามารถเก็บน้ำยาดังกล่าวไว้ใช้งานได้ประมาณ 1 - 2 ปี
*****************************************************************************
วิธีใช้งานเครื่องวัดค่า pH
1. ดึงปลอกหุ้มตัวรับข้อมูลออกจากตัวเครื่อง
2. เลื่อนสวิสซ์ด้านบนเครื่องมาทางซ้ายเมื่อเพื่อเปิดการทำงานของตัวเครื่อง (สังเกตุเห็นตัวเลขขึ้นที่หน้าจอแสดงผล) *ตัวเลขที่ขึ้นบนหน้าจอจะวิ่งไปมา เป็นปกติของเครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่างของเหลว เมื่อหัวอ่านหรือตัวรับข้อมูลลอยอยู่ในอากาศ จึงไม่สามารถอ่านค่าได้ตัวเลขที่แสดงจึงไม่นิ่ง
3. จุ่มหัวอ่านหรือตัวรับข้อมูล (กระเปราะแก้ว ด้านล่างตัวเครื่อง) ลงไปในของเหลวที่จะทำการวัด โดยให้ระดับน้ำสูงเกินระดับปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล และทำการแกว่งเครื่องเพื่อไล่ฟองอากาศที่อาจจะมาเกาะบริเวณตัวรับข้อมูลออกให้หมด
4. เครื่องวัด pH จะต่างจากเครื่องวัด EC ตรงที่เครื่องวัด pH จะมีค่าหน่วงเวลา ในการรอให้เซ็นเซอร์ที่หัวอ่านจับค่า pH ของน้ำที่วัดค่าก่อน โดยจะสังเกตุเห็นได้ว่าเมื่อจุ่มเครื่องวัดลงในของเหลวแล้วตัวเลขยังคงขยับเคลื่อนไหวอยู่ ให้ผู้วัดค่าแกว่งไล่ฟองอากาศออกจากตัวรับข้อมูล แล้วรอประมาณ 15 - 20 วินาที จนตัวเลขที่แสดงตรงหน้าจอนิ่งดีแล้ว จึงทำการอ่านค่าที่วัดได้จากหน้าจอแสดงผลนั้น
5. หลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อบให้เลื่อนสวิสซ์มาทางขวา เพื่อปิดการทำงานของเครื่อง
6. ให้ล้างตัวรับข้อมูลด้วยน้ำสะอาด สบัดน้ำออกจากบริเวณตัวรับข้อมูลใช้ผ้าสะอาดค่อยๆซับให้แห้ง จากนั้นให้สวมปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล เก็บตัวเครื่องไว้ในกล่องพลาสติกให้เรียบร้อย ห้ามใช้แอลกอฮอล์ มาเช็ดทำความสะอาด ให้ล้างด้วยน้ำสะอาดหรือน้ำกลั่นเท่านั้น
ข้อแนะนำ และข้อควรระวังในการใช้เครื่องวัดค่า pH
1. ห้ามนำไปจุ่มวัดของเหลวหรือเคมีที่มีค่าความเป็นกรด-ด่าง สูง เกิน 5% หรือ ของเหลวที่ร้อนจัด หรือเย็นจัด เพราะจะทำให้หัวอ่านหรือตัวรับข้อมูลเสียหายได้
2. หลีกเลี่ยงการทำเครื่องวัดตกกระแทกพื้น ควรใส่เครื่องวัดในกล่องพลาสติกทุกครั้งหลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อย
3. อย่าจุ่มเครื่องวัดลงในของเหลวเกินจาก ระดับที่แนะนำไว้ (ไม่เกินขอบของปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล)
4. กรณีที่เครื่องวัดตกน้ำหรือมีความชื้นในเครื่องจนไม่สามารถวัดค่าได้ตามปกติ ให้ถอดปลอกใส่แบตเตอรี่ออกและนำตัวเครื่องวัดไปตากแดดหรือใช้พัดลมเป่าให้แห้งเพื่อไล้ความชื้นออกจากแผงวงจร แล้วลองประกอบเครื่องและลองวัดค่าดูอีกครั้ง ห้ามใช้ไดร์เป่าผมหรือเครื่องเป่าลมร้อนเป่าตัวเครื่องโดยเด็ดขาดเพราะจะทำให้แผงวงจรเสียหายได้
5. ห้ามใช้ไขควงหมุนช่องสำหรับปรับคาริเบทเครื่องในขณะที่ไม่ได้จุ่มวัดกับน้ำยาเทียบค่า เนื่องจากเครื่องวัดได้ทำการปรับตั้งมาจากโรงงานผู้ผลิตแล้ว การปรับหมุนช่องดังกล่าวจะทำให้ค่าที่วัดได้จากเครื่องวัดนี้ไม่ตรงกับความเป็นจริง
การปรับตั้งเครื่องวัด pH ให้มีความเที่ยงตรง (Calibration)
การคาริเบทเครื่องวัด คือ การปรับตั้งเครื่องวัดให้มีความเที่ยงตรง โดยปกติเครื่องวัดที่เป็นปากกาดิจิตอลเมื่อให้ไปนานๆ แบตตเตอรี่ที่ใช้เริ่มเสื่อมหรือใกล้หมดพลังงานจะทำให้ค่าที่วัดได้ไม่นิ่ง หรือไม่มีความเที่ยงตรง แนะนำให้ผู้ใช้เครื่องเปลี่ยนแบตเตอรี่ชุดใหม่ก่อนที่จะทำการปรับตั้งเครื่อง สำหรับเครื่องวัดค่า pH จะมีผงบัฟเฟอร์ ที่ใช้ในการปรับจูนเครื่องแถมมาให้ 2 ซอง ซึ่งผงบัฟเฟอร์ ทั้ง 2 ซองนี้จะมี ค่า pH อยู่ที่ 4.01 และ 6.86 สำหรับการเตรียมน้ำสำหรับการทำน้ำยาคาริเบทเครื่องวัด pH ให้เราเตรียมน้ำกลั่น ขนาด 250 ซีซี ใส่แก้วน้ำสะอาดไว้ แล้วเลือกผงบัฟเฟอร์ที่มีค่า pH ตามต้องการมา 1 ซอง เทผงบัฟเฟอร์ลงในน้ำกลั่นนั้นแล้วคนให้ละลาย เราก็จะได้น้ำยาที่ไว้ในการปรับจูนเครื่องวัดให้มีความเที่ยงตรง สำหรับความคาดเคลื่อนของค่าที่วัดได้ไม่เกิน +- 0.3 ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำยาด้วยครับ
1. นำเครื่องวัดค่า EC มาทำความสะอาดหัวอ่านด้วยน้ำกลั่น แล้วเป่าลมให้แห้ง อย่าให้มีน้ำหรือคราบปุ๋ยเกาะติดที่ตัวรับก่อนจะจุ่มลงในน้ำยาเทียบค่า
2. นำน้ำยาเทียบค่า เทใส่ภาชนะที่สะอาด จากนั้นให้จุ่มวัดเครื่องลงไปในน้ำยาเทียบค่าดังกล่าว
3. อ่านค่าที่หน้าจอแสดงผล ให้เทียบดูว่าค่าที่อ่านได้มีค่าตรงกับค่าของน้ำยาที่วัดหรือไม่ ถ้าตรงก็ไม่ต้องปรับจูนใดๆ ทั้งสิ้น
4. กรณีที่ค่าที่วัดได้ไม่ตรงกับน้ำยาเทียบค่าให้ใช้ไขควงสีเหลืองที่แถมมากับตัวเครื่อง ค่อยหมุนช่องด้านหลังตัวเครื่องในขณะที่หัวอ่านยังคงจุ่มในน้ำยาเทียบค่า โดยหมุนให้ตัวเลขหน้าจอแสดงผลเคลื่อนไปตรงหรือใกล้เคียงกับค่าของน้ำยามากที่สุด
5. หลังจากปรับตั้งเครื่องเรียบร้อย ให้เก็บน้ำยาเทียบค่านี้ไว้ใช้งานครั้งต่อไปได้ แต่ควรเก็บในที่ไม่โดนแสงแดดในอุณหภูมิปกติ สามารถเก็บน้ำยาดังกล่าวไว้ใช้งานได้ประมาณ 1 - 2 ปี
ราคาเครื่องละ 1,700 บ. (ยังไม่รวมค่าจัดส่ง)
คุณสมบัติเครื่องวัดค่า EC รุ่น EC-1700
- สามารถวัดระดับความเข้มข้นของธาตุอาหารได้ในช่วง 0.00 - 19.99 (ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
- มีขนาดเล็กสามารถพกพาได้
- แบตเตอรี่ AG-13 Button ขนาด 1.5 V จำนวน 4 ก้อน สามารถใช้งานได้นานถึง 1,000 ชั่วโมง
- ใช้งานง่ายและสะดวก เหมาะสำหรับผู้ที่ปลูกผักไฮโดรโพนิกส์โดยเฉพาะ (หน่วยวัดเป็น ms/cm)
- ไม่ต้องปรับโหมดการทำงานหรือแปลงค่าใดๆ ในการวัดสามารถวัดและอ่านค่าสารละลายธาตุอาหารได้ทันที
- เครื่องวัดปรับคาริเบทมาจากโรงงานแล้ว
- เครื่องวัดมีปุ่ม Hold สำหรับล็อคค่าที่อ่านได้
- มีหลอดไฟ LED ที่หน้าปัดอ่านค่า สามารถอ่านค่าในที่มืดได้
- มีแจ้งเตือนสถานะแบตเตอรี่กรณีที่แบตเตอรี่ใกล้หมด
- คู่มือการใช้งาน (ภาษาอังกฤษ)
- เหมาะสำหรับใช้ในห้องปฏิบัติการ, โรงเรียนและสถาบันการศึกษา, ฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำพิพิธภัณฑ์สัตว์น้ำ, ฟาร์มผักไฮโดรโปนิก, สระว่ายน้ำและสปา, การตรวจคุณภาพน้ำ ฯลฯ
- ขนาดตัวเครื่อง 170 x 33 x 20 มม.
- น้ำหนักเครื่อง 70 กรัม
*แถมฟรี น้ำยาเพื่อใช้ปรับคาริเบทเครื่องวัด EC ขนาด 55 ml. (ค่า 1.413 ms/cm) จำนวน 1 ขวด
******************************************************************************
2. เครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่าง ของเหลว pH Meter รุ่น pH-900
ราคาเครื่องละ 900 บ. (ยังไม่รวมค่าจัดส่ง)
คุณสมบัติเครื่องวัดค่า pH รุ่น pH-900
- สามารถวัดระดับพีเอชได้ในช่วง 0.0 - 14 .0
- มีขนาดเล็กสามารถพกพาได้
- แบตเตอรี่ AG-13 Button ขนาด 1.5 V จำนวน 3 ก้อน สามารถใช้งานได้นานถึง 700 ชั่วโมง
- เหมาะสำหรับ การเกษตรกรรม, Hydroponics, Aquriums, Food Processing, ห้องปฏิบัติการ, สระว่ายน้ำ ฯลฯ
- เครื่องวัดปรับคาริเบทมาจากโรงงานแล้ว สามารถใช้งานได้เลยโดยไม่ต้องปรับตั้งค่าใดๆ
- ขนาดตัวเครื่อง 150 x 29 x 20 มม.
- น้ำหนักเครื่อง 51 กรัม
*แถมฟรี ผง Buffer Powder เพื่อใช้ปรับคาริเบทเครื่องวัด pH จำนวน 2 ซอง
******************************************************************************
3. น้ำยาสำหรับเทียบค่าเครื่องวัด EC มิเตอร์ (ค่า 1.413 ms/cm) ขนาด 55 cc
ราคาขวดละ 100 บ. (ยังไม่รวมค่าจัดส่ง)
- ใช้เทียบค่าเพื่อการปรับตั้งเครื่องวัด EC ให้มีความเที่ยงตรง
- สามารถเก็บไว้ใช้งานได้หลายครั้ง
- แนะนำให้ล้างทำความสะอาดหัวอ่านเครื่องวัด EC และผึ่งลมให้แห้งก่อนจุ่มหัวอ่าน
ในน้ำยาเทียบค่าเพื่อป้องกันไม่ให้ค่าน้ำยาเจือจางและคาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริง
******************************************************************************
วิธีการสั่งซื้อ :
คุณเอก โทร.087-177-6447 (สำนักงานใหญ่)
คุณตู่ โทร.086-184-7751 (สาขา)
อีเมล์ : zen-hydroponics@hotmail.com
อีเมล์ : zen-hydroponics@hotmail.com

2. ทางเซนฯ แจ้งยอดชำระ (พร้อมวิธีจัดส่งให้ลูกค้าเลือก)
3. ลูกค้าเลือกวิธีการจัดส่ง พร้อมโอนเงินชำระค่าสินค้า+ค่าจัดส่ง
ธนาคารสำหรับชำระค่าสินค้า
ธนาคารกสิกรไทย สาขาหางดง (เชียงใหม่) ชื่อบัญชี นาย เอกชัย นำเจริญ ประเภทออมทรัพย์ เลขที่บัญชี 500-2-08020-8 |
4. ลูกค้าแจ้งการรายละเอียดการชำระเงิน และชื่อ-ที่อยู่ในการจัดส่งสินค้าที่
คุณเอก โทร.087-177-6447 (สำนักงานใหญ่)
คุณตู่ โทร.086-184-7751 (สาขา)
อีเมล์ : zen-hydroponics@hotmail.com
อีเมล์ : zen-hydroponics@hotmail.com

ข้อมูลที่ลูกค้าต้องแจ้งหลังจากโอนเงินชำระค่าสินค้าและค่าจัดส่ง
- โอนเข้าธนาคาร ......................................................
- วันที่โอน...................................................................
- เวลาที่โอน ...............................................................
- ยอดเงินที่โอน ..........................................................
- ชื่อ,สกุลผู้รับสินค้า ....................................................
- ที่อยู่ในการจัดส่งสินค้า .............................................
- เบอร์โทรลูกค้า ..........................................................
5. หลังจากรับแจ้งการโอนเงินจากลูกค้า ทางเซนฯ จะตรวจสอบหลักฐานการโอนเงินเรียบร้อย
จึงทำการจัดส่งสินค้าให้ลูกค้า และแจ้งการจัดส่งให้ลูกค้าทราบอีกครั้งหนึ่ง
เงื่อนไข
* ลูกค้าที่ต้องการซื้อสินค้ากรุณาอย่าพึ่งโอนเงินค่าสินค้ามาจนกว่าจะได้รับการยืนยันยอดการโอน
* กรณีที่ลูกค้าแจ้งยืนยันการโอนเงินหลังเวลา 12.00 น. จะทำการจัดส่งสินค้าให้วันทำการถัดไป
* ลูกค้าเมื่อโอนเงินชำระค่าสินค้าและค่าจัดส่งแล้วรบกวนแจ้งข้อมูลการโอน, ชื่อ, ที่อยู่ ที่ใช้ในการ
จัดส่งมาให้ทราบด้วยเพื่อความรวดเร็วในการตรวจสอบและจัดส่งสินค้า
* ทางเซนฯ จะทำการจัดส่งสินค้าทุกวัน จันทร์ - ศุกร์ ยกเว้นวันเสาร์, อาทิตย์และวันหยุดทำการไปรษณีย์ (พร้อมแจ้งรหัสติดตามสินค้าให้ลูกค้าทราบ)
* ลูกค้าสามารถตรวจสอบสถานะสินค้าในการจัดส่งได้ที่
- สำหรับการจัดส่งแบบ EMS และ ลงทะเบียน http://track.thailandpost.co.th
- สำหรับการจัดส่งแบบ ธรรมดา ลูกค้าสามารถโทรสอบถามที่เบอร์สายด่วนไปรษณีย์ 1545
******************************************************************************
คู่มือการใช้งานเครื่องวัดค่า EC (ภาษาไทย)
ส่วนประกอบด้านหน้าเครื่องวัด EC
วิธีใช้งานเครื่องวัดค่า EC
1. ดึงปลอกหุ้มตัวรับข้อมูลออกจากตัวเครื่อง
2. กดปุ่ม ON/OFF เพื่อเปิดการทำงานของเครื่อง (สังเกตุเห็นตัวเลขขึ้นที่หน้าจอสีน้ำเงินเป็นตัวเลข 0.00)
3. จุ่มหัวอ่านหรือตัวรับข้อมูล (แท่งโลหะด้านล่างตัวเครื่อง) ลงไปในของเหลวที่จะทำการวัด โดยให้ระดับน้ำสูงเกินระดับปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล และทำการแกว่งเครื่องเพื่อไล่ฟองอากาศที่อาจจะมาเกาะบริเวณตัวรับข้อมูลออกให้หมด
4. อ่านค่าที่วัดได้จากหน้าจอแสดงผลข้อมูล
5. หลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อบให้กดปุ่ม ON/OFF เพื่อปิดการทำงานของเครื่อง ในกรณีที่ผู้ใช้ลืมปิดการทำงานของเครื่อง เครื่องจะ Auto Switch OFF เพื่อปิดการทำงานด้วยตัวเองภายใน 4 นาที
6. ให้ล้างตัวรับข้อมูลด้วยน้ำสะอาด สบัดน้ำออกจากบริเวณตัวรับข้อมูลใช้ผ้าสะอาดค่อยๆซับให้แห้ง จากนั้นให้สวมปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล เก็บตัวเครื่องไว้ในกล่องพลาสติกให้เรียบร้อย
ข้อแนะนำ และข้อควรระวังในการใช้เครื่องวัดค่า EC
1. ห้ามนำไปจุ่มวัดของเหลวหรือเคมีที่มีค่าความเป็นกรด-ด่าง สูง เกิน 5% หรือ ของเหลวที่ร้อนจัด หรือเย็นจัด เพราะจะทำให้หัวอ่านหรือตัวรับข้อมูลเสียหายได้
2. หลีกเลี่ยงการทำเครื่องวัดตกกระแทกพื้น ควรใส่เครื่องวัดในกล่องพลาสติกทุกครั้งหลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อย
3. อย่าจุ่มเครื่องวัดลงในของเหลวเกินจาก ระดับที่แนะนำไว้ (ไม่เกินขอบของปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล)
4. กรณีที่เครื่องวัดตกน้ำหรือมีความชื้นในเครื่องจนไม่สามารถวัดค่าได้ตามปกติ ให้ถอดปลอกใส่แบตเตอรี่ออกและนำตัวเครื่องวัดไปตากแดดหรือใช้พัดลมเป่าให้แห้งเพื่อไล้ความชื้นออกจากแผงวงจร แล้วลองประกอบเครื่องและลองวัดค่าดูอีกครั้ง ห้ามใช้ไดร์เป่าผมหรือเครื่องเป่าลมร้อนเป่าตัวเครื่องโดยเด็ดขาดเพราะจะทำให้แผงวงจรเสียหายได้
5. ห้ามใช้ไขควงหมุนช่องสำหรับปรับคาริเบทเครื่องในขณะที่ไม่ได้จุ่มวัดกับน้ำยาเทียบค่า เนื่องจากเครื่องวัดได้ทำการปรับตั้งมาจากโรงงานผู้ผลิตแล้ว การปรับหมุนช่องดังกล่าวจะทำให้ค่าที่วัดได้จากเครื่องวัดนี้ไม่ตรงกับความเป็นจริง
วิธีการถอดปลอกใส่แบตเตอรี่เครื่องวัดค่า EC
1. ใช้ไขควงสีเหลืองที่แถมในกล่องเครื่องวัด โดยใช้ปลายไขควงสอดเข้าด้านข้างสลักล็อกปลอก แล้วค่อยๆ ยกไขควงขึ้นเพื่อง้างให้สลักของปลอกที่ล็อคกับตัวเครื่องหลุดออก
2. ใช้นิ้วหัวแม่มือดันปลอกไปด้านบนเพื่อให้ปลอกเลื่อนหลุดออกจากตัวเครื่อง (ถ้าสลักที่ล็อคปลอกกับตัวเครื่องยังไม่ยกลอยจากตัวเครื่องจะดันปลอกออกไม่ได้ อย่าฝืนดันปลอก ให้ใช้ไขควงยกสลักให้สูงขึ้นอีกนิดเพื่อให้สลักลอยจากตัวเครื่องจะดันปลอกออกได้ง่ายโดยไม่ต้องใช้แรงดันมาก)
3. ถอดแบตเตอรี่เก่าออกจากช่องที่ใส่แล้วปลี่ยนแบตเตอรี่ชุดไปลงไปให้ตรงกับช่องขั้ว + -
4. สวมปลอกใส่แบตเตอรี่ลงที่ตัวเครื่องเหมือนเดิมแล้วลองเปิดปุ่มทำงานดูเพื่อทดสอบ
การปรับตั้งเครื่องวัด EC ให้มีความเที่ยงตรง (Calibration)
การคาริเบทเครื่องวัด คือ การปรับตั้งเครื่องวัดให้มีความเที่ยงตรง โดยปกติเครื่องวัดที่เป็นปากกาดิจิตอลเมื่อให้ไปนานๆ แบตตเตอรี่ที่ใช้เริ่มเสื่อมหรือใกล้หมดพลังงานจะทำให้ค่าที่วัดได้ไม่นิ่ง หรือไม่มีความเที่ยงตรง แนะนำให้ผู้ใช้เครื่องเปลี่ยนแบตเตอรี่ชุดใหม่ก่อนที่จะทำการปรับตั้งเครื่อง
1. นำเครื่องวัดค่า EC มาทำความสะอาดหัวอ่านด้วยแอลกอฮอล์ แล้วเป่าลมให้แห้ง อย่าให้มีน้ำหรือคราบปุ๋ยเกาะติดที่ตัวรับ
2. นำน้ำยาโซลูชั่น เทใส่ภาชนะที่สะอาด จากนั้นให้จุ่มวัดเครื่องลงไปในน้ำยาเทียบค่าดังกล่าว
3. อ่านค่าที่หน้าจอแสดงผล ให้เทียบดูว่าค่าที่อ่านได้มีค่าตรงกับค่าของน้ำยาที่วัดหรือไม่ ถ้าตรงก็ไม่ต้องปรับจูนใดๆ ทั้งสิ้น
4. กรณีที่ค่าที่วัดได้ไม่ตรงกับน้ำยาเทียบค่าให้ใช้ไขควงสีเหลืองที่แถมมากับตัวเครื่อง ค่อยหมุนช่องด้านหลังตัวเครื่องในขณะที่หัวอ่านยังคงจุ่มในน้ำยาเทียบค่า โดยหมุนให้ตัวเลขหน้าจอแสดงผลเคลื่อนไปตรงหรือใกล้เคียงกับค่าของน้ำยามากที่สุด
5. หลังจากปรับตั้งเครื่องเรียบร้อย ให้เก็บน้ำยาเทียบค่านี้ไว้ใช้งานครั้งต่อไปได้ แต่ควรเก็บในที่ไม่โดนแสงแดดในอุณหภูมิปกติ สามารถเก็บน้ำยาดังกล่าวไว้ใช้งานได้ประมาณ 1 - 2 ปี
*****************************************************************************
คู่มือการใช้งานเครื่องวัดค่า pH (ภาษาไทย)
วิธีใช้งานเครื่องวัดค่า pH
1. ดึงปลอกหุ้มตัวรับข้อมูลออกจากตัวเครื่อง
2. เลื่อนสวิสซ์ด้านบนเครื่องมาทางซ้ายเมื่อเพื่อเปิดการทำงานของตัวเครื่อง (สังเกตุเห็นตัวเลขขึ้นที่หน้าจอแสดงผล) *ตัวเลขที่ขึ้นบนหน้าจอจะวิ่งไปมา เป็นปกติของเครื่องวัดค่าความเป็นกรด-ด่างของเหลว เมื่อหัวอ่านหรือตัวรับข้อมูลลอยอยู่ในอากาศ จึงไม่สามารถอ่านค่าได้ตัวเลขที่แสดงจึงไม่นิ่ง
3. จุ่มหัวอ่านหรือตัวรับข้อมูล (กระเปราะแก้ว ด้านล่างตัวเครื่อง) ลงไปในของเหลวที่จะทำการวัด โดยให้ระดับน้ำสูงเกินระดับปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล และทำการแกว่งเครื่องเพื่อไล่ฟองอากาศที่อาจจะมาเกาะบริเวณตัวรับข้อมูลออกให้หมด
4. เครื่องวัด pH จะต่างจากเครื่องวัด EC ตรงที่เครื่องวัด pH จะมีค่าหน่วงเวลา ในการรอให้เซ็นเซอร์ที่หัวอ่านจับค่า pH ของน้ำที่วัดค่าก่อน โดยจะสังเกตุเห็นได้ว่าเมื่อจุ่มเครื่องวัดลงในของเหลวแล้วตัวเลขยังคงขยับเคลื่อนไหวอยู่ ให้ผู้วัดค่าแกว่งไล่ฟองอากาศออกจากตัวรับข้อมูล แล้วรอประมาณ 15 - 20 วินาที จนตัวเลขที่แสดงตรงหน้าจอนิ่งดีแล้ว จึงทำการอ่านค่าที่วัดได้จากหน้าจอแสดงผลนั้น
5. หลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อบให้เลื่อนสวิสซ์มาทางขวา เพื่อปิดการทำงานของเครื่อง
6. ให้ล้างตัวรับข้อมูลด้วยน้ำสะอาด สบัดน้ำออกจากบริเวณตัวรับข้อมูลใช้ผ้าสะอาดค่อยๆซับให้แห้ง จากนั้นให้สวมปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล เก็บตัวเครื่องไว้ในกล่องพลาสติกให้เรียบร้อย ห้ามใช้แอลกอฮอล์ มาเช็ดทำความสะอาด ให้ล้างด้วยน้ำสะอาดหรือน้ำกลั่นเท่านั้น
ข้อแนะนำ และข้อควรระวังในการใช้เครื่องวัดค่า pH
1. ห้ามนำไปจุ่มวัดของเหลวหรือเคมีที่มีค่าความเป็นกรด-ด่าง สูง เกิน 5% หรือ ของเหลวที่ร้อนจัด หรือเย็นจัด เพราะจะทำให้หัวอ่านหรือตัวรับข้อมูลเสียหายได้
2. หลีกเลี่ยงการทำเครื่องวัดตกกระแทกพื้น ควรใส่เครื่องวัดในกล่องพลาสติกทุกครั้งหลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อย
3. อย่าจุ่มเครื่องวัดลงในของเหลวเกินจาก ระดับที่แนะนำไว้ (ไม่เกินขอบของปลอกหุ้มตัวรับข้อมูล)
4. กรณีที่เครื่องวัดตกน้ำหรือมีความชื้นในเครื่องจนไม่สามารถวัดค่าได้ตามปกติ ให้ถอดปลอกใส่แบตเตอรี่ออกและนำตัวเครื่องวัดไปตากแดดหรือใช้พัดลมเป่าให้แห้งเพื่อไล้ความชื้นออกจากแผงวงจร แล้วลองประกอบเครื่องและลองวัดค่าดูอีกครั้ง ห้ามใช้ไดร์เป่าผมหรือเครื่องเป่าลมร้อนเป่าตัวเครื่องโดยเด็ดขาดเพราะจะทำให้แผงวงจรเสียหายได้
5. ห้ามใช้ไขควงหมุนช่องสำหรับปรับคาริเบทเครื่องในขณะที่ไม่ได้จุ่มวัดกับน้ำยาเทียบค่า เนื่องจากเครื่องวัดได้ทำการปรับตั้งมาจากโรงงานผู้ผลิตแล้ว การปรับหมุนช่องดังกล่าวจะทำให้ค่าที่วัดได้จากเครื่องวัดนี้ไม่ตรงกับความเป็นจริง
การปรับตั้งเครื่องวัด pH ให้มีความเที่ยงตรง (Calibration)
การคาริเบทเครื่องวัด คือ การปรับตั้งเครื่องวัดให้มีความเที่ยงตรง โดยปกติเครื่องวัดที่เป็นปากกาดิจิตอลเมื่อให้ไปนานๆ แบตตเตอรี่ที่ใช้เริ่มเสื่อมหรือใกล้หมดพลังงานจะทำให้ค่าที่วัดได้ไม่นิ่ง หรือไม่มีความเที่ยงตรง แนะนำให้ผู้ใช้เครื่องเปลี่ยนแบตเตอรี่ชุดใหม่ก่อนที่จะทำการปรับตั้งเครื่อง สำหรับเครื่องวัดค่า pH จะมีผงบัฟเฟอร์ ที่ใช้ในการปรับจูนเครื่องแถมมาให้ 2 ซอง ซึ่งผงบัฟเฟอร์ ทั้ง 2 ซองนี้จะมี ค่า pH อยู่ที่ 4.01 และ 6.86 สำหรับการเตรียมน้ำสำหรับการทำน้ำยาคาริเบทเครื่องวัด pH ให้เราเตรียมน้ำกลั่น ขนาด 250 ซีซี ใส่แก้วน้ำสะอาดไว้ แล้วเลือกผงบัฟเฟอร์ที่มีค่า pH ตามต้องการมา 1 ซอง เทผงบัฟเฟอร์ลงในน้ำกลั่นนั้นแล้วคนให้ละลาย เราก็จะได้น้ำยาที่ไว้ในการปรับจูนเครื่องวัดให้มีความเที่ยงตรง สำหรับความคาดเคลื่อนของค่าที่วัดได้ไม่เกิน +- 0.3 ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำยาด้วยครับ
1. นำเครื่องวัดค่า EC มาทำความสะอาดหัวอ่านด้วยน้ำกลั่น แล้วเป่าลมให้แห้ง อย่าให้มีน้ำหรือคราบปุ๋ยเกาะติดที่ตัวรับก่อนจะจุ่มลงในน้ำยาเทียบค่า
2. นำน้ำยาเทียบค่า เทใส่ภาชนะที่สะอาด จากนั้นให้จุ่มวัดเครื่องลงไปในน้ำยาเทียบค่าดังกล่าว
3. อ่านค่าที่หน้าจอแสดงผล ให้เทียบดูว่าค่าที่อ่านได้มีค่าตรงกับค่าของน้ำยาที่วัดหรือไม่ ถ้าตรงก็ไม่ต้องปรับจูนใดๆ ทั้งสิ้น
4. กรณีที่ค่าที่วัดได้ไม่ตรงกับน้ำยาเทียบค่าให้ใช้ไขควงสีเหลืองที่แถมมากับตัวเครื่อง ค่อยหมุนช่องด้านหลังตัวเครื่องในขณะที่หัวอ่านยังคงจุ่มในน้ำยาเทียบค่า โดยหมุนให้ตัวเลขหน้าจอแสดงผลเคลื่อนไปตรงหรือใกล้เคียงกับค่าของน้ำยามากที่สุด
5. หลังจากปรับตั้งเครื่องเรียบร้อย ให้เก็บน้ำยาเทียบค่านี้ไว้ใช้งานครั้งต่อไปได้ แต่ควรเก็บในที่ไม่โดนแสงแดดในอุณหภูมิปกติ สามารถเก็บน้ำยาดังกล่าวไว้ใช้งานได้ประมาณ 1 - 2 ปี